ผู้เขียน หัวข้อ: อาหารสายยางสำหรับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง  (อ่าน 161 ครั้ง)

siritidaphon

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 709
    • ดูรายละเอียด
อาหารสายยางสำหรับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
« เมื่อ: วันที่ 22 มิถุนายน 2024, 20:44:54 น. »
อาหารสายยางสำหรับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

กลุ่มโรคทางเดินหายใจในปัจจุบันนี้ พบมากพอๆกับ กลุ่มโรคหัวใจที่เป็นอันดับต้นของประเทศ โดยโลกนี้นั้นเกิดจากพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ที่สะสมเป็นระยะเวลายาวนาน ทำให้เกิดปัญหากับถุงลมในปอด ที่ไม่สามารถแลกการ์ดออกซิเจนได้ตามปกติ จึงทำให้ผู้ป่วยโรคนี้ทั่วไปนั้นมักจะมีอาการเหนื่อยหอบง่าย โดยโรคนี้นั้นเป็นโรคที่อยู่ในกลุ่มของโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังชนิดหนึ่ง  ที่เกิดจากการอักเสบและแตกของเนื้อปอดที่บริเวณถุงลมปอดเนื่องจากพฤติกรรมที่กล่าวมาข้างต้น  ทำให้เนื้อปอดมีถุงลมเล็ก ๆ มากมายคล้ายพวงองุ่นนั้นยังรวมกับถุงลมที่อยู่ติดกันจนกลายเป็นถุงลมขนาดใหญ่หลายๆอันในปอด  ทำให้มีพื้นผิวในการแลกเปลี่ยนออกซิเจนในปอดลดลงหรือมีอากาศค้างในปอดมากกว่าปกติ ซึ่งหากเกิดความผิดปกติมากขึ้นก็จะทำให้ผู้ป่วยถุงลมโป่งพองมีอาการผิดปกติ คือมีอาการหายใจตื้น


นอกจากนี้ อาการหลักๆของถุงลมโป่งพอง  นั้นก็คือมีอาการหายใจตื้นและไอ  และผู้ป่วยบางรายที่เป็นถุงลมโป่งพองมักไม่รู้ตัวว่าเป็นมานานแล้วหลายๆคนคิดว่าเป็นอาการไอ เหนื่อยทั่วไปจากการทำงานหรือเป็นหวัดไม่สบาย  เพราะอาการจะเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป มักทำให้คิดว่าอาหารนั้นจะหายไปเองเหมือนอาการเป็นหวัดทุกครั้ง ทำให้ผู้ป่วยไม่สังเกตเห็นอาการใด ๆจากตนเองเลย นอกจากนั้นผู้ป่วยมักหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมที่ทำให้หายใจตื้น ซึ่งอาการนี้ไม่ได้สร้างปัญหามากหากไม่ส่งผลกระทบหรือรบกวนการใช้ชีวิตประจำวัน แต่หากมีอาการที่รุนแรงขึ้น จะทำให้ผู้ป่วยมีอาการหายใจตื้นแม้ไม่ได้ทำกิจกรรมใด ๆเมื่อหากมีอาหารกำเริบ การดูแลผู้ป่วยด้วยอาหารนั้นไม่ได้เฉพาะเจาะจงมากนัก การให้อาหารได้เหมาะสมจะช่วยลดระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดและการหายใจดีขึ้น

ซึ่งคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน จะถูกเผาผลาญเพื่อให้เกิดพลังงาน พร้อมทั้งได้เป็นคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำออกมา  การกินคาร์โบไฮเดรตจะผลิตคาร์บอนไดออกไซด์ออกมามากที่สุด และการกินไขมันจะผลิตคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาน้อยที่สุด ซึ่งการกินอาหารที่มีไขมันสูงและคาร์โบไฮเดรตต่ำจะลดการผลิตคาร์บอนไดออกไซด์ในผู้ป่วยได้ จะสามารถลดการทำงานที่หนักขึ้นของถุงลมได้  การเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตที่กินเข้าไปทำให้ผลิตคาร์บอนไดออกไซด์ออกมามาก ซึ่งทำให้ปอดต้องทำงานมากขึ้นในการขับออก ดังนั้นแนะนำให้กินอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตต่ำและไขมันสูง โดยมีปริมาณโปรตีนที่เพียงพอ


ทางเราจะมาแนะนำอาหารที่เหมาะสมกับผู้ป่วยโรคชนิดนี้ โดยหลักๆนั้นอาหารปั่นผสมมีหลักเพื่อให้ผู้ป่วยที่อาจไม่สามารถประทานอาหารเองได้ ไม่สามารถย่อยอาหารเองได้ หรือมีปัญหาการกลืน เคี้ยวได้ ซึ่งมีส่วนประกอบ ฟักทอง 100  กรัม กล้วย  100 กรัม เนื้อไก่บอด 100 กรัม ไข่ไก่ 2 ฟองรวมทั้งไข่ขาวและไข่แดง ไข่ขาวอย่างเดียวครึ่งฟอง น้ำตาล 42 กรัม น้ำมันพืช 1 ช้อนโต๊ะ เกลือ 1 ช้อนชา นำทุกอย่างมารวมกัน เติมน้ำท่วมวัตถุดิบและปั่นจนละเอียด นำมากรองเอากากออก เท่านี้ก็จะสามารถได้อาหารปั่นผสมสำหรับผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง


ในผู้ป่วยรายนี้นั้น หากไม่ได้คุมอาหารจะไม่ได้มีผลต่ออาการมากนัก  จะไม่เหมือนโรคเรื้อรังไม่ติดต่อชนิดอื่น  เนื่องด้วยอาการนั้นได้เกิดขึ้นที่ปอดผู้ป่วยชนิดนี้ไปแล้ว จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อการทำกิจวัตรประจำวันที่ทำให้ผู้ป่วยนั้นเหนื่อย ซึ่งแนวทางการรักษาโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ไม่มีการรักษาที่แน่ชัด แต่อาการของโรคสามารถรักษาได้และชะลอความก้าวหน้าของโรคได้ เป้าหมายหลักของการจัดการโรคคือ การลดปัจจัยเสี่ยง เช่น การหยุดสูบบุหรี่ แต่บางสาเหตุก็ไม่สามารถแก้ไขได้ ทางเรายังคงให้ความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยด้วยอาหารที่ดี สะอาด และปลอดภัย หากผู้ป่วยได้รับอาหารที่ดีทางเรามีความเชื่อว่าจะสามารถทำให้อาการของผู้ป่วยดีขึ้นได้ตามลำดับ มีความสุขมากขึ้น